นยุคโลกาภิวัตน์ประเทศต่าง ๆ
ต้องประสานประโยชน์และพึ่งพากันอย่างเป็นระบบ จึงต้องรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ
และปัจจุบันเป็นโลกไร้พรมแดนมีการซื้อขายทางอินเทอร์เน็ต
มีเครือข่ายโยงถึงกันได้สะดวกรวดเร็ว
ทำให้เกิดความสัมพันธ์ระหว่างเศรษฐกิจไทยและโลก อ่านเพิ่มเติม
วันพฤหัสบดีที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2558
บทที่ 8 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
การประสานประโยชน์ หมายถึง การร่วมมือกันเพื่อรักษาและป้องกันผลประโยชน์ของตน
หรือระงับความขัดแย้งที่เกิดขึ้นจากการแข่งขันทางการเมือง เศรษฐกิจระหว่างประเทศ อ่านเพิ่มเติม
องค์การระหว่างประเทศไทยที่มีบทบาทในด้านสิทธิมนุษยชน
แต่องค์การที่สำคัญที่สุดและมีบทบาทต่อประเทศไทยในประเด็นสิทธิมนุษยชนมากที่สุดคือ
สำนักงานข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติ (United Nations High Commissioner
for Refugees : UNHCR) ซึ่งเป็นองค์การที่ทไหน้าที่ช่วยเหลือการกลับถิ่นฐานเดิมอ่านเพิ่มเติม
บทที่ 7 สิทธิมนุษย์ชน
จากปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน(Universal Declaration of Human Rights หรือ UDHR) ข้อ 1 ที่ระบุไว้ว่า
บุคคลชอบที่จะมีสิทธิและเสรีภาพประดามีที่ระบุไว้ในปฏิญาณนี้
ทั้งนี้โดยไม่มีการจำแนกความแตกต่างในเรื่องใดๆ เช่น เชื้อชาติ สีผิว เพศ ภาษา
ศาสนา อ่านเพิ่มเติม
ข้อตกลงระหว่างประเทศ
1. กฎหมายเกี่ยวกับชื่อบุคคล
- ชื่อบุคคล (Name)
เป็นถ้อยคำที่ใช้เรียกบุคคลเพื่อบ่งบอกถึงตัวบุคคลใด ประกอบด้วยชื่อ ชื่อรอง
และชื่อสกุล
เพราะเป็นสิ่งที่มีความสำคัญในการจำแนกบุคคล อ่านเพิ่มเติม
บทที่6 กฎหมาย
กฎหมาย คือ
กฎที่สถาบันหรือผู้มีอำนาจสูงสุดในรัฐตราขึ้น
หรือที่เกิดขึ้นจากจารีตประเพณีอันเป็นที่ยอมรับนับถือ เพื่อใช้ในการบริหารประเทศ เพื่อใช้บังคับบุคคลให้ปฏิบัติตาม อ่านเพิ่มเติม
การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ
กระบวนการทั้งหลายเหล่านี้เป็นกระบวนการสำคัญที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
(พ.ศ.2540) ได้กำหนดไว้ในหลายๆส่วนรวมทั้งโดยเฉพาะในหมวด 10 อันเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับ
"การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ"
ความจำเป็นของการตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐนั้นเป็นสิ่งที่เราทุกคนทราบกันดีอยู่แล้ว อ่านเพิ่มเติม
บทที่ 5 การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
สังคมทุกสังคมจะเจริญก้าวหน้าเป็นปึกแผ่นได้
ย่อมต้องมีระเบียบวินัยและผู้นำของสังคมเป็นหลักในการปกครอง
ผู้นำของสังคมระดับประเทศโดยเฉพาะระบอบประชาธิปไตยส่วนใหญ่จะอยู่ในรูปแบบของประธานาธิบดีหรือพระมหากษัตริย์ อ่านเพิ่มเติม
คุณลักษณะพลเมืองดี
การเคารพในสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ตามขอบเขตที่บัญญัติไว้ในกฏหมาย
การใช้หลักเหตุผลในการตัดสินปัญหา ข้อขัดแย้ง
การเคารพในกฏ
กติกาของสังคมเพื่อความสงบสุขและความเป็นระเบียบเรียบร้อยในสังคม
บทที่4 พลเมืองดี
ความหมาย
พลเมืองดี หมายถึง
ประชาชนที่ประพฤติปฏิบัติตามระเบียบกฎเกณฑ์ของสังคมมีความรับผิดชอบต่อ
หน้าที่ ของตนเอง
รู้จักบทบาทหน้าที่ของตนเอง และปฏิบัติตนได้อย่างเหมาะสมไม่ละเมิดล่วงล้ำสิทธิ
และเสรีภาพของ บุคคลอื่น อ่านเพิ่มเติมhttp://writer.dek-d.com/freya1412/story/viewlongc.php?id=733167&chapter=7การเลือกรับวัฒนธรรม
เมื่อสังคมแต่ละสังคมได้สร้างวัฒนธรรมของตนเองขึ้นมาและมีเอกลักษณ์เฉพาะ
ที่ตั้งอยู่บนสภาวะแวดล้อมทางกายภาพและสังคม หรือบริบทของสังคมนั้นๆ แต่วัฒนธรรมของสังคมทุกสังคมมีความคล้อยคลึงกัน
มีวัฒนธรรมพื้นฐานที่เหมือนกัน
นักมานุษยวิทยาและนักสังคมวิทยา อ่านเพิ่มเติม
บทที่ 3 วัฒนธรรม
วัฒนธรรม โดยทั่วไปหมายถึง อะไรสักอย่าง เช่น ...อ่อ ผมนิพูดไม่ออกเลย ว่า
รูปแบบของกิจกรรมมนุษย์และโครงสร้างเชิงสัญลักษณ์ที่ทำให้กิจกรรมนั้นเด่นชัดและมีความสำคัญ
วิถีการดำเนินชีวิต ซึ่งเป็นพฤติกรรมและสิ่งที่คนในหมู่ผลิตสร้างขึ้น
ด้วยการเรียนรู้จากกันและกัน และร่วมใช้อยู่ในหมู่พวกของตน อ่านเพิ่มเติม
ปัญหาสังคม
ปัญหาสังคม หมายถึง
สภาวะการณ์ที่มีผลกระทบกระเทือนต่อคนจำนวนมากในสังคมและเห็นว่าควรร่วม
กันแก้ปัญหานั้นให้ดีขึ้น สาเหตุของปัญหาสังคมเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทางสังคม อ่านเพิ่มเติม
บทที่2 การเปลี่ยนแปลงและพัฒนาทางสังคม
ราชบัณฑิตยสถาน (2524 : 337) อธิบายว่า การเปลี่ยนแปลงทางสังคม หมายถึง การที่ระบบสังคม กระบวนการ
แบบอย่างหรือรูปแบบทางสังคม เช่น ขนบธรรมเนียมประเพณี อ่านเพิ่มเติม
การจัดระเบียบทางสังคม
การจัดระเบียบทางสังคม หมายถึง
กระบวนการทางสังคมที่จัดขึ้นเพื่อควบคุมสมาชิกให้มีความสัมพันธ์กันภายใต้แบบแผนและกฎเกณฑ์เดียวกัน
เพื่อให้เกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อยในสังคม อ่านเพิ่มเติม
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)